วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1(ค21202) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
เกี่ยวกับบทเรียน

 การหารพหุนามด้วยเอกนาม ให้นำตัวหารไปหารทุกพจน์ของตัวตั้ง แล้วนำผลที่ได้มารวมกัน ขั้นตอนการหารจะสิ้นสุดลงเมื่อตัวตั้งใหม่มีดีกรีน้อยกว่าตัวหารซึ่งถือว่าเป็นเศษ ถ้าหารพหุนามแล้วได้เศษเป็นศูนย์ เรียกว่า หารลงตัว ถ้าหารพหุนามแล้วได้เศษไม่เป็นศูนย์ เรียกว่า หารไม่ลงตัวA

1)  ( 4x-8) div {2}

วิธีทำ ( 4x-8) div {2}=frac{(4x-8)}{2}

=frac{4x}{2}- frac{8}{2}

=2x-4

2) (-6x+15) div {3}

วิธีทำ (-6x+15) div {3}

=frac{-6x}{3} + frac{15}{3}

=-2x + 5

3) (14x^{2}+7) div {7}

วิธีทำ (14x^{2}+7) div {7}

=frac{14x^{2} } {7} + frac{7}{7}

=2x^{2}+ 1

4) (-5x^{2}+20) div {-5}

วิธีทำ (-5x^{2}+20) div {-5}

=frac{-5x^{2} } {-5} + frac{20}{-5}

=x^{2}+(-4)

=x^{2}-4

5) (12x^{2}-20x) div {4}

วิธีทำ (12x^{2}-20x) div {4}

=frac{12x^{2} } {4} - frac{20x}{4}

=3x^{2}-5x

ไฟล์ตัวอย่าง
การหารพหุนาม.pdf
ขนาด: 747.78 KB
แบบฝึกหัดที่6 การหารพหุนาม.pdf
ขนาด: 423.06 KB
แบบทดสอบคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยม 1.pdf
ขนาด: 268.42 KB