เนื้อหาของคอร์ส
บทที่ 1 จำนวนนับที่มากกว่า 100,000
จำนวนนับที่เขียนแทนด้วยตัวเลขที่มีหกหลัก ตัวเลขทางซ้ายมือของหลักหมื่นอยู่ในหลักแสน จำนวนนับที่เขียนแทนด้วยตัวเลขที่มีเจ็ดหลัก ตัวเลขทางซ้ายมือของหลักแสนอยู่ในหลักล้าน จำนวนนับที่เขียนแทนด้วยตัวเลขมากกว่าเจ็ดหลัก ตัวเลขทางซ้ายมือของหลักล้าน เรียงตามลำดับจากขวาไปซ้าย อยู่ในหลักสิบล้าน ร้อยล้าน พันล้าน ....... ค่าประจำหลักของแต่ละหลักมีค่าเป็นสิบเท่าของหลักที่อยู่ถัดไปทางขวามือตัวเลขในแต่ละหลักจะมีค่าตามค่าประจำหลักนั้นๆ การเขียนตัวเลขในรูปกระจายเป็นการเขียนในรูปการบอกค่าของตัวเลขในหลักต่างๆของจำนวนนั้น ๆ การเขียนตัวเลขในรูปกระจาย เป็นการเขียนในรูปการบอกค่าของตัวเลขในหลักต่าง ๆ ของจำนวนนั้น ๆ จำนวนสองจำนวน เมื่อนำมาเปรียบเทียบกัน จะเท่ากัน มากกว่ากัน หรือน้อยกว่ากัน อย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แบบรูปของจำนวนเป็นชุดของจำนวนที่มีความสัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง * ความรู้ 1. เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจำนวนนับและศูนย์ 2. หลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจำนวนนับ และการใช้ศูนย์ การเขียนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบ การเรียงลำดับจำนวนบับ และศูนย์ 3. จำนวนและความสัมพันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นและลดลงทีละเท่ากัน
0/2
บทที่ 2 การบวกและการลบจำนวนนับที่มากกว่า 100,000
• การบวกและการลบ • การคำนวณโดยใช้เครื่องคิดเลข • การหาค่าของตัวไม่ทราบค่า • โจทย์ปัญหา • การสร้างโจทย์ปัญหา
0/2
บทที่ 3 การคูณ การหาร
• การคูณ • การหาร • การหาค่าของตัวไม่ทราบค่า • โจทย์ปัญหา • การสร้างโจทย์ปัญหา
0/2
บทที่ 4 การบวก ลบ คูณ หารจำนวนนับ
• การบวก ลบ คูณ หารระคนแบบมีวงเล็บ • การบวก ลบ คูณ หารระคนแบบไม่มีวงเล็บ • การบวก ลบ คูณ หารระคนที่มีและไม่มีวงเล็บ • โจทย์ปัญหา • การสร้างโจทย์ปัญหา • ค่าเฉลี่ย
0/2
บทที่ 5 เวลา
• การบอกระยะเวลา • การเปรียบเทียบระยะเวลา • การอ่านตารางเวลา • โจทย์ปัญหา
0/2
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (ค14101) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เกี่ยวกับบทเรียน

        การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที ใช้มหัพภาค  ( . )  หรือ  ทวิภาค  ( : )       

        ระยะเวลา  หมายถึง  ช่วงเวลาที่ต่อเนื่องจากเวลาหนึ่งถึงอีกเวลาหนึ่ง  เครื่องหมายวรรคตอนที่ใช้ คือ ทวิภาค ( : )

        60  วินาที  เท่ากับ  1  นาที

        การเปรียบเทียบระยะเวลา อาจเปลี่ยนให้เป็นหน่วยเดียวกัน  โดยใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา

        การอ่านตารางเวลาต้องพิจารณาจากความสัมพันธ์ระหว่างช่องแสดงรายการในแนวตั้งกับแนวนอน

        การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา อาจใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเวลา

     * ความรู้

  1.  การบอกระยะเวลา
  2.  การเปรียบเทียบระยะเวลา
  3.  การอ่านตารางเวลา
  4.  โจทย์ปัญหา
ไฟล์ตัวอย่าง
ใบงาน หน่วย 5 เวลา ป.4.pdf
ขนาด: 234.38 KB
การบอกระยะเวลา.pdf
ขนาด: 573.67 KB