พหุนามดีกรีสองเมื่อทำการแยกตัวประกอบแล้วได้ตัวประกอบเป็นพหุนามดีกรีหนึ่งที่ซ้ำกัน เช่น x2 + 4x + 4 = (x + 2)(x + 2) = (x + 2)2 เรียกพหุนามที่มีลักษณะเช่นนี้ว่า กำลังสองสมบูรณ์ (Perfect Square)
…….พหุนามที่อยู่ในรูป กำลังสองสมบูรณ์ ถ้าให้ น = พจน์หน้า, ล = พจน์หลัง จะเขียนในรูป
………………………….น2 + 2นล + ล2
………………………….น2 – 2นล + ล2
…….ซึ่งสามารถแยกตัวประกอบได้ดังนี้
………………………….(หน้า)2 + 2หน้าหลัง + (หลัง)2 = (หน้า + หลัง)2
………………………….(หน้า)2 – 2หน้าหลัง + (หลัง)2 = (หน้า – หลัง)2
ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ a2 – 8a + 16
วิธีทำ……….a2 – 8a + 16 = a2 – (2)(a)(4) + 42
…………………””””…….= (a – 4)2
ตัวอย่างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 121x2 + 154x + 49
วิธีทำ……….121x2 + 154x + 49 = (11x)2 + (2)(11x)(7) + 72
………………………………….= (11x + 7)2
ตัวอย่างที่ 3 จงแยกตัวประกอบของพหุนาม (x + 2)2 – 18(x2 + 2x) + 81x2
วิธีทำ………. (x + 2)2 – 18(x2 + 2x) + 81x2 = (x + 2)2 – 18x(x + 2) + 81x2
……………………………………………= (x + 2)2 – 2(x + 2)(9x) + (9x)2
………………………………………….. = [ (x + 2) – 9x ]2
………………………………………….. = (2 – 8x)2
ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
วิธีทำ…….
………………………………………
…………..ดังนั้น…
ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
วิธีทำ…….
………………………………..
………………………………..
………………………………..
…………..ดังนั้น…